สมัครเรียนโทร. 085-350-7540 , 084-88-00-255 , ntprintf@gmail.com

Tutorial Python

L16 PYTHON SIMPLE ARITHMETIC L40 PYTHON TUTORIAL INTRO L41 PYTHON GETTING STARTED L42 PYTHON SYNTAX L43 PYTHON COMMENTS L44 PYTHON VARIABLES L45 PYTHON DATATYPE L46 PYTHON NUMBERS L47 PYTHON CASING L48 PYTHON STRINGS L49 PYTHON BOOLEANS L50 PYTHON OPARETORS L51 PYTHON LISTS L52 PYTHON TUPELS L53 PYTHON SETS L54 PYTHON DICTIONARY L55 PYTHON IF ELSE L56 PYTHON WHILE LOOP L57 PYTHON FOR LOOP L58 PYTHON FUNCTION L59 PYTHON LAMBDA L60 PYTHON ARRAYS L61 PYTHON CLASSSES OBJECTS L62 PYTHON INHERITANCE L63 PYTHON ITERATORS L63 PYTHON SCOPE L64 PYTHON MODULES L65 PYTHON DATETIME L66 PYTHON JSON L67 PYTHON REGEX L68 PYTHON PIP L69 PYTHON TRY EXCAPE L70 PYTHON USER INPUT L71 PYTHON FILE OPEN L73 PYTHON STRING FORMATTING L74 PYTHON READ FILE L75 PYTHON WRILE CREATE FILE L76 PYTHON DELETE FILE L90 PYTHON POISSON DISTRIBUTION L90 PYTHON RANDOM INTRODUCTION L91 PYTHON CHI SQUARE DISTRIBUTION L91 PYTHON EXPONENTIAL DISTRIBUTION L92 PYTHON RAYLEIGH DISTRIBUTION L93 PYTHON PARETO DISTRIBUTION L94 PYTHON ZIPF DISTRIBUTION L96 PYTHON RANDOM PERMUTATIONS L97 PYTHON SEABORN L98 PYTHON NORMAL DISTRIBUTION L99 PYTHON DISTRIBUTION L99 PYTHON LOGISTIC DISTRIBUTION L99 PYTHON MULTINOMIAL DISTRIBUTION L99 PYTHON NUMPY SPLITTING ARRAY L99 PYTHON NUMPY UFUNCS L99 PYTHON UNIFORM DISTRIBUTION LM60PYTHON BUILT IN FUNCTIONS LM61PYTHON STRING METHODS LM62PYTHON LIST ARRAY METHODS LM63PYTHON DICTIONARY METHODS LM64PYTHON TUPLE METHODS LM65PYTHON SET METHODS LM66PYTHON FILE METHODS LM67PYTHON KEYWORD LM68PYTHON BUILT IN EXCAPTION LM69PYTHON RANDOM MODULE LM70PYTHON MATH MODULE LM70PYTHON REQUSTS MODULE LM72PYTHON CMATH MODULE LM73PYTHON HOWTO REMOVE DUPLICATES FROM A PYTHON LIST LM74PYTHON HOW TO REVERSE A STRING IN PYTHON LM75PYTHON HOW TO ADD TWO NUMBERS IN PYTHON LM95PYTHON RANDOM DATA DISTRIBUTION

Python Tuples

เรียนเขียนโปรแกรมง่ายๆกับ Expert Programming Tutor วันนี้เราจะมาเข้าสู่บทTuple
tuple คือคอลเล็กชันที่เรียงลำดับและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ใน Python tuples เขียนด้วยวงเล็บ()
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
print(thistuple)

ผลลัพธ์

('apple', 'banana', 'cherry')

การเข้าถึงสมาชิกภายใน Tuple
นักเรียนสามารถเข้าถึง tuple โดยอ้างอิงถึงหมายเลขดัชนีภายในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม[]
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
print(thistuple[1])

ในตัวอย่าง เป็นการเข้าถึงสมาชิกใน Tuple เพื่ออ่านค่าภายใน ตัวแปร thistuple นั้นเป็น Tuple ที่มีสมาชิกเป็นเพียงข้อมูล ซึ่งสมาชิกตัวแรกจะมีค่าดัชนีเป็น 0 
ผลลัพธ์

banana

นอกจากนี้การเข้าถึงสมาชิกที่มีอินเด็กซ์ติดลบคือการเริ่มต้นจากจุดสิ้นสุด -1 หมายถึงรายการสุดท้าย -2 หมายถึงlistถัดจากสุดท้ายลำดับที่สอง
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
print(thistuple[-1])

ผลลัพธ์

cherry

เข้าถึงสมาชิกแบบกำหนดช่วงข้อมูล
นักเรียนสามารถระบุช่วงข้อมูลของดัชนีได้โดยระบุตำแหน่งที่จะเริ่มและตำแหน่งที่จะสิ้นสุดช่วง เมื่อระบุช่วงค่าส่งคืนจะเป็น tuple ใหม่พร้อมlistที่ระบุ
ตัวอย่าง
บรรทัดที่ 2 สั่งให้แสดงค่าในตัวแปร thistuple โดยกำหนดช่วงข้อมูลลำดับที่ 2 ถึงลำดับที่ 5 โดยข้อมูลที่เราจะได้ ตัวแรกคือตัวอักษรลำดับที่ 3 นั่นคือ cherry (ไม่ใช่ banana เพราะอินเด็กซ์เริ่มจาก 0) ตัวสุดท้ายคือตัวอักษรลำดับที่ 2-5 นั่นคือลำดับที่ 4 ได้แก่ตัวอักษร orange ดังนั้น ข้อมูลที่เราจะได้จากคำสั่งนี้ก็คือ chrry orange kiwi

thistuple = ("apple", "banana", "cherry", "orange", "kiwi", "melon", "mango")
print(thistuple[2:5])

#This will return the items from position 2 to 5.
#Remember that the first item is position 0,
#and note that the item in position 5 is NOT included

ผลลัพธ์

('cherry', 'orange', 'kiwi')

การจัดทำดัชนีเชิงลบหมายถึงการเริ่มต้นจากจุดสิ้นสุด -1 หมายถึงlistสุดท้าย -2 หมายถึงlistสุดท้ายที่สองเป็นต้น
ตัวอย่าง
บรรทัดที่ 2 เข้าถึงข้อมูลสมาชิก Tuple โดยระบุค่าอินเด็กซ์ติดลบ ในตัวอย่างระบุค่าเริ่มต้นเป็น -4 (หมายถึง ตัวอักขระตัวที่ 4 นับมาจากตัวสุดท้าย นั่นคือตัว orange) และระบุค่าสิ้นสุดเป็น -1 (หมายถึง ตัวอักขระตัวที่ 1 นับจากตัวสุดท้าย (เริ่มที่ 0) นั่นคือตัว melon)

thistuple = ("apple", "banana", "cherry", "orange", "kiwi", "melon", "mango")
print(thistuple[-4:-1])

#Negative indexing means starting from the end of the tuple.
#This example returns the items from index -4 (included) to index -1 (excluded)
#Remember that the last item has the index -1,

ผลลัพธ์

('orange', 'kiwi', 'melon')

เปลี่ยนค่า Tuple
เมื่อสร้างtuple นักเรียนจะไม่สามารถเปลี่ยนค่าได้ tupleจะไม่เปลี่ยนแปลงหรือไม่เปลี่ยนรูป แต่มีวิธีแก้ปัญหาคือ นักเรียนสามารถแปลง tuple เป็นlist เปลี่ยนlistและแปลงlistกลับเป็น tuple ได้นั่นเอง
ยกตัวอย่าง
แปลง tuple เป็นlistเพื่อให้สามารถเปลี่ยนแปลงได้

x = ("apple", "banana", "cherry")
y = list(x)
y[1] = "kiwi"
x = tuple(y)
print(x)

ผลลัพธ์

("apple", "kiwi", "cherry")

จะเห็นได้ว่า ข้อมูลที่เป็นTuple ได้ถูกแปลงเป็นList เรียบร้อย
การอ่านค่าใน Tuple ด้วยคำสั่ง For loop
นักเรียนสามารถวนซ้ำไอเท็ม tuple โดยใช้ for loop
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
for x in thistuple:
  print(x)

  ในตัวอย่าง เป็นการใช้ For loop เพื่อวนอ่านค่าใน Tuple ในลูปแรกเป็นการวนอ่านค่าในตัวแปร thistuple แบบทีละค่าด้วยการใช้คำสั่ง in ในการวนแต่ละรอบโปรแกรมจะนำค่าภายใน Tuple มาเก็บไว้ในตัวแปร x ในลูปที่สองเป็นการใช้ For loop เพื่อสร้าง Index ตั้งแต่ 0 ถึงตัวสุดท้ายและเข้าถึงค่าของ Tuple ผ่านทาง Index ของมัน
ผลลัพธ์

apple
banana
cherry

ตรวจสอบว่ามีlistอยู่หรือไม่
เพื่อตรวจสอบว่าlistที่ระบุมีอยู่ใน tuple ใช้คำหลัก in
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
if "apple" in thistuple:
  print("Yes, 'apple' is in the fruits tuple")

ผลลัพธ์

Yes, 'apple' is in the fruits tuple

ความยาว Tuple
ในการกำหนดจำนวนlist tuple มีให้ใช้วิธี len () len(ตัวแปรหรือข้อมูล)
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
print(len(thistuple))

ผลลัพธ์

3

เพิ่มList
เมื่อสร้างtupleนักเรียนจะไม่สามารถเพิ่มlistได้ tupleไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ตัวอย่าง
นักเรียนไม่สามารถเพิ่มlistลงใน tuple

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
thistuple[3] = "orange" # This will raise an error
print(thistuple)

ทำการรวมข้อมูลชนิด tuple ด้วยเครื่องหมาย “+”
หากต้องการรวม tupleตั้งเเต่สองค่าขึ้นไป นักเรียนสามารถใช้ตัวดำเนินการ +
ตัวอย่าง

tuple1 = ("a", "b" , "c")
tuple2 = (1, 2, 3)
tuple3 = tuple1 + tuple2
print(tuple3)

ผลลัพธ์

('a', 'b', 'c', 1, 2, 3)

การลบข้อมูล tuple
หมายเหตุ: นักเรียนไม่สามารถลบlistต่าง ๆ ในtuple
Tuples ไม่สามารถเปลี่ยนได้ดังนั้นนักเรียนจึงไม่สามารถลบlistออกจากมันได้ แต่นักเรียนสามารถลบtupleได้โดยใช้ del
ตัวอย่าง

thistuple = ("apple", "banana", "cherry")
del thistuple
print(thistuple) #this will raise an error because the tuple no longer exists

ผลลัพธ์

Traceback (most recent call last):
  File "demo_tuple_del.py", line 3, in
    print(thistuple) #this will raise an error because the tuple no longer exists
NameError: name 'thistuple' is not defined

จากตัวอย่างด้านบน ได้ทำการลบสมาชิกข้อมูล Tuple เรียบร้อย ก็จบกันไปเเล้วกับบทความ tuple เป็นอย่างไรบ้าง มาถึงบทนี้กกันเเล้ว นั่งอ่านต่ออีกสักหน่อย เพื่อทำความเข้าใจมากขึ้น เจอกันในบทหน้าครับ
แปลจากhttps://www.w3schools.com/python/python_tuples.asp



บทความนี้อาจจะมีที่ผิด กรุณาตรวจสอบก่อนใช้

หากมีข้อผิดพลาด/ต้องการพูดคุยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความนี้ กรุณาแจ้งที่ http://m.me/Expert.Programming.Tutor

ไม่อยากอ่าน Tutorial อยากมาเรียนเลยทำอย่างไร?

สมัครเรียน ONLINE ได้ทันทีที่ https://elearn.expert-programming-tutor.com

หรือติดต่อ

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM

แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา

C Article


C++ Article


Java Article


C#.NET Article


VB.NET Article


Python Article


Golang Article


JavaScript Article


Perl Article


Lua Article


Rust Article


Article


Python


Python Numpy


Python Machine Learning



แผนผังการเรียนเขียนโปรแกรม

Link อื่นๆ

Allow sites to save and read cookie data.
Cookies are small pieces of data created by sites you visit. They make your online experience easier by saving browsing information. We use cookies to improve your experience on our website. By browsing this website, you agree to our use of cookies.

Copyright (c) 2013 expert-programming-tutor.com. All rights reserved. | 085-350-7540 | 084-88-00-255 | ntprintf@gmail.com

ติดต่อเราได้ที่

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM
แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา