สมัครเรียนโทร. 085-350-7540 , 084-88-00-255 , ntprintf@gmail.com

Tutorial Python

L16 PYTHON SIMPLE ARITHMETIC L40 PYTHON TUTORIAL INTRO L41 PYTHON GETTING STARTED L42 PYTHON SYNTAX L43 PYTHON COMMENTS L44 PYTHON VARIABLES L45 PYTHON DATATYPE L46 PYTHON NUMBERS L47 PYTHON CASING L48 PYTHON STRINGS L49 PYTHON BOOLEANS L50 PYTHON OPARETORS L51 PYTHON LISTS L52 PYTHON TUPELS L53 PYTHON SETS L54 PYTHON DICTIONARY L55 PYTHON IF ELSE L56 PYTHON WHILE LOOP L57 PYTHON FOR LOOP L58 PYTHON FUNCTION L59 PYTHON LAMBDA L60 PYTHON ARRAYS L61 PYTHON CLASSSES OBJECTS L62 PYTHON INHERITANCE L63 PYTHON ITERATORS L63 PYTHON SCOPE L64 PYTHON MODULES L65 PYTHON DATETIME L66 PYTHON JSON L67 PYTHON REGEX L68 PYTHON PIP L69 PYTHON TRY EXCAPE L70 PYTHON USER INPUT L71 PYTHON FILE OPEN L73 PYTHON STRING FORMATTING L74 PYTHON READ FILE L75 PYTHON WRILE CREATE FILE L76 PYTHON DELETE FILE L90 PYTHON POISSON DISTRIBUTION L90 PYTHON RANDOM INTRODUCTION L91 PYTHON CHI SQUARE DISTRIBUTION L91 PYTHON EXPONENTIAL DISTRIBUTION L92 PYTHON RAYLEIGH DISTRIBUTION L93 PYTHON PARETO DISTRIBUTION L94 PYTHON ZIPF DISTRIBUTION L96 PYTHON RANDOM PERMUTATIONS L97 PYTHON SEABORN L98 PYTHON NORMAL DISTRIBUTION L99 PYTHON DISTRIBUTION L99 PYTHON LOGISTIC DISTRIBUTION L99 PYTHON MULTINOMIAL DISTRIBUTION L99 PYTHON NUMPY SPLITTING ARRAY L99 PYTHON NUMPY UFUNCS L99 PYTHON UNIFORM DISTRIBUTION LM60PYTHON BUILT IN FUNCTIONS LM61PYTHON STRING METHODS LM62PYTHON LIST ARRAY METHODS LM63PYTHON DICTIONARY METHODS LM64PYTHON TUPLE METHODS LM65PYTHON SET METHODS LM66PYTHON FILE METHODS LM67PYTHON KEYWORD LM68PYTHON BUILT IN EXCAPTION LM69PYTHON RANDOM MODULE LM70PYTHON MATH MODULE LM70PYTHON REQUSTS MODULE LM72PYTHON CMATH MODULE LM73PYTHON HOWTO REMOVE DUPLICATES FROM A PYTHON LIST LM74PYTHON HOW TO REVERSE A STRING IN PYTHON LM75PYTHON HOW TO ADD TWO NUMBERS IN PYTHON LM95PYTHON RANDOM DATA DISTRIBUTION

Python Operators

เรียนเขียนโปรแกรมง่ายๆกับ Expert Programming Tutor วันนี้เราจะมาเข้าสู่บทOperators
Python Arithmetic Operators
 ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ใช้กับค่าตัวเลขเพื่อดำเนินการทางคณิตศาสตร์ทั่วไป

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

ตัวอย่างการใช้งาน

+

ทำการบวกข้อมูลที่อยู่ด้านซ้ายและขวาของตัวดำเนินการ “+”

หรือเลขจำนวนบวก

2+3

+2

ทำการนำข้อมูลด้านขวาไปลบออกจากข้อมูลด้านซ้ายของตัวดำเนินการ “-”

หรือ เลขจำนวนลบ

3-2

-2

*

ทำการคูณระหว่างข้อมูลที่อยู่ด้านซ้ายและขวาของตัวดำเนินการ “*”

2*3

/

ทำการหารข้อมูลด้านซ้ายด้วยข้อมูลด้านขวาของตัวดำเนินการ “/”

2/3

%

ทำการหาเศษจากการที่ได้การหารข้อมูลด้านซ้ายด้วยข้อมูลด้านขวาของตัวดำเนินการ “%”

3%2

//

ทำการหาค่าที่ได้จากการหารข้อมูลด้านซ้ายด้วยข้อมูลทางด้านขวาของตัวดำเนินการ “//” โดยไม่คิดเศษของข้อมูล

3//2

**

ทำการคำนวณข้อมูลที่ได้จากข้อมูลด้านซ้าย ยกกำลังด้วยข้อมูลทางด้านขวาของตัวดำเนินการ “**”

2**3

(2 ยกกำลัง 3)

ตัวอย่าง

x = 5
y = 3

print(x + y)
print(x - y)
print(x * y)
print(x / y)
print(x % y)
print(x ** y) #same as 2*2*2*2*2
print(x // y)
#the floor division // rounds the result down to the nearest whole number

ผลลัพธ์

8
2
15
1.6666666666666667
2
125
1

ตัวดำเนินการในการเปรียบเทียบ(Comparision(Relational) operators)
 ตัวดำเนินการเปรียบเทียบใช้เพื่อเปรียบเทียบสองค่า  โดยผลจากการเปรียบเทียบจะทำการคืนค่าเป็นจริง(True) หรือ เท็จ(False) ตามแต่เงื่อนไขระบุ

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

ตัวอย่างการใช้งาน

>

เครื่องหมายมากกว่า โดยผลจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการด้านซ้าย มีค่ามากกว่า ตัวถูกดำเนินการทางด้านขวา

3 > 2

จริง(True)

<

เครื่องหมายน้อยกว่า โดยผลจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการด้านขวา มีค่ามากกว่า ตัวถูกดำเนินการทางด้านซ้าย

3 < 2

เท็จ(False)

==

เครื่องหมายเท่ากัน โดยผลจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการทางด้านซ้ายและด้านขวามีค่าเท่ากัน

3 == 2

เท็จ(False)

!=

เครื่องหมายไม่เท่ากัน โดยผลจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการด้านซ้ายและด้านขวามีค่าไม่เท่ากัน

3 != 2

จริง(True)

>=

เครื่องหมายมากกว่าหรือเท่ากัน โดยผลจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการด้านซ้ายมีค่ามากกว่าหรือเท่ากันกับตัวถูกดำเนินการทางด้านขวา

3 >= 2

จริง(True)

<=

เครื่องหมายน้อยกว่าหรือเท่ากัน โดยผลจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการด้านขวามีค่ามากกว่าหรือเท่ากันกับตัวถูกดำเนินการทางด้านซ้าย

3 <= 2

เท็จ(False)

ตัวอย่าง

x = 5
y = 15
print( x > y )
print( x < y )
print( x == y )
print( x != y )
print( x >= y )
print( x <= y )

ผลลัพธ์

False
True
False
True
False
True

ตัวดำเนินการทางตรรกะ(Logical(Boolean) operators)
ตัวดำเนินการทางตรรกะ(Logical operators) ตัวดำเนินการเชิงตรรกะใช้เพื่อรวมคำสั่งแบบมีเงื่อนไข

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

ตัวอย่างการใช้งาน

and

ผลจะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการทั้งสองด้านของตัวดำเนินการ and มีค่าเป็นจริง

(2 > 1) and (3 > 1)

จริง(True)

or

ผลจะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการตัวใดตัวหนึ่งจากทั้งสองด้านของตัวดำเนินการ or มีค่าเป็นจริง

(5 > 1) or (2 > 3)

จริง(True)

not

ผลจะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการมีค่าเป็นเท็จ( เป็นการสลับระหว่างข้อมูลที่เป็นจริงและเป็นเท็จ)

not (2>1)

เท็จ(False)

ตัวอย่าง

x = True
y = False

print( x and y )
print( x or y )
print( not x )
print( not y )
product_amount = 5  # กำหนดจำนวนชิ้นของสินค้าที่ทำการซื้อ
product_price = 25  # กำหนดราคาของสินค้าแต่ละชิ้น
total_price = (product_amount*product_price) # คำนวณราคารวมของการซื้อสินค้าที่ทำการซื้อ
print( total_price > 90 ) # ตรวจสอบราคารวมของสินค้าว่ามากกว่า 90 บาทหรือไม่
print( (total_price > 150) and (product_amount>=5) ) 
print( (total_price > 150) or (product_amount>=5) ) 

ผลลัพธ์

False
True
False
True
True
False
True

ตัวดำเนินการที่ใช้ดำเนินการข้อมูลระดับบิต
โดยตัวถูกดำเนินการเป็นเหมือน string ของตัวเลขฐานสอง โดยจะดำเนินการในระดับบิต ตัวอย่างเช่น4. ตัวดำเนินการระดับบิต(Bitwise operators)
2 ก็คือ 10 ในเลขฐานสอง ซึ่งคำนวณจาก( (1*21) + (0*20) )
7 ก็คือ 111 ในเลขฐานสอง ซึ่งคำนวณจาก( (1*22) + (1*21) + (1*20) )

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

                        ตัวอย่างการใช้งาน

ให้ x = 10 (0000 1010 ในเลขฐานสอง)

ให้ y = 4  (0000 0100 ในเลขฐานสอง)

&

bitwise AND

x & y  = 0 (0000 0000)

|

bitwise OR

x | y = 14   (0000 1110)

~

bitwise NOT

~x  = -11  (1111 0101)

^

bitwise XOR

x ^ y  =  14   (0000 1110)

>>

bitwise right shift

x >> 2 = 2 (0000 0010)

<<

bitwise left shift

x << 2 = 40  (0010 1000)

 ตัวดำเนินการเพื่อกำหนดค่า(Assignment operators)
การกำหนดการใช้งานเพื่อกำหนดค่าให้กับตัวแปร

ตัวดำเนินการ

ตัวอย่างการใช้งาน

มีค่าเท่ากันกับ

=

x = 5

x = 5

+=

x += 5

x = x+5

-=

x -= 5

x = x-5

*=

x *= 5

x = x*5

/=

x /=5

x = x/5

%=

x%=5

x = x%5

//=

x //=5

x = x//5

**=

x **=5

x = x**5

&=

x&=5

x = x&5

|=

x |= 5

x = x | 5

^=

x ^=5

x = x^5

>>=

x >>=5

x = x>>5

<<=

x <<=5

x = x<<5

ตัวดำเนินการพิเศษ (Special operators)
ตัวดำเนินการพิเศษจะใช้ในการเปรียบเทียบวัตถุไม่ว่ามันจะเท่ากัน แต่ถ้ามันเป็นอ๊อบเจ็คเดียวกันจริงจะมีตำแหน่งหน่วยเดียวกัน 

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

ตัวอย่างการใช้งาน

กำหนดให้ x = True

is

เป็นจริง ก็ต่อเมื่อตัวถูกดำเนินการสองตัวที่ถูกดำเนินการนั้นถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำเดียวกัน

x is True

จริง(True)

is not

เป็นจริง ก็ต่อเมื่อตัวถูกดำเนินการสองตัวที่ถูกดำเนินการนั้นถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำคนละตำแหน่งกัน

x is not True

เท็จ(False)

ตัวอย่าง

x1 = 5
y1 = 5
x2 = 'Hello'
y2 = 'Hello'
x3 = [1,2,3]
y3 = [1,2,3]
print(x1 is y1)
print(x1 is not y1)
print(x2 is y2)
print(x3 is y3)

ผลลัพธ์

True
False
True
False

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

ตัวอย่างการใช้งาน

กำหนดให้ x = [10, 8, 5]

in

จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ข้อมูลนั้นถูกพบในชุดข้อมูล

5 in x

จริง(True)

not in

จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ข้อมูลนั้น ไม่ถูกพบในชุดข้อมูล

5 not in x

เท็จ(False)

ตัวดำเนินการแบบตรวจสอบการเป็นสมาชิก(Membership operator)
ตัวอย่าง

x = 'Hello world' # กำหนดข้อความโดยทำการเก็บข้อมูลชนิด string
print('e' in x)
print('e' not in x)
products = ["pencil", "book", "pen", "eraser", "ruler"] # กำหนดรายการชนิดของสินค้าโดยทำการเก็บข้อมูลชนิดลิสต์ให้ตัวแปร products
print("pen" in products)
print("sharpener" in products)
print("sharpener" not in products)
product = {"name": "pencil", "price":5, "amount":50} # กำหนดคุณลักษณะของสินค้าซึ่งจะประกอบด้วยชื่อสินค้า(name), ราคา(price) และ จำนวนสินค้า(amount)
print("name" in product) # ตรวจสอบว่าในข้อมูลสินค้ามีคุณลักษณะชื่อสินค้า(name) อยู่หรือไม่
print("discount" in product) # ตรวจสอบว่าในข้อมูลสินค้ามีคุณลักษณะส่วนลด(discount) อยู่หรือไม่
print("discount" not in product) # ตรวจสอบว่าในข้อมูลสินค้าไม่มีคุณลักษณะส่วนลด(discount) ใช่หรือไม่

ผลลัพธ์

True
False
True
False

เป็นอย่างไรกันบ้างในบทนี้จะบอกถึงการใช้งาน operator ต่างๆ ซึ่งในบทความนี้จะพูดถึงทั้งหมด เเละนักเรียนยังสามารถไปศึกษาเพิ่มเติมได้เอง เพื่อทำความเข้าใจมากขึ้น เจอกันในบทหน้าครับ
แปลจากhttps://www.w3schools.com/python/python_operators.asp



บทความนี้อาจจะมีที่ผิด กรุณาตรวจสอบก่อนใช้

หากมีข้อผิดพลาด/ต้องการพูดคุยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความนี้ กรุณาแจ้งที่ http://m.me/Expert.Programming.Tutor

ไม่อยากอ่าน Tutorial อยากมาเรียนเลยทำอย่างไร?

สมัครเรียน ONLINE ได้ทันทีที่ https://elearn.expert-programming-tutor.com

หรือติดต่อ

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM

แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา

C Article


C++ Article


Java Article


C#.NET Article


VB.NET Article


Python Article


Golang Article


JavaScript Article


Perl Article


Lua Article


Rust Article


Article


Python


Python Numpy


Python Machine Learning



แผนผังการเรียนเขียนโปรแกรม

Link อื่นๆ

Allow sites to save and read cookie data.
Cookies are small pieces of data created by sites you visit. They make your online experience easier by saving browsing information. We use cookies to improve your experience on our website. By browsing this website, you agree to our use of cookies.

Copyright (c) 2013 expert-programming-tutor.com. All rights reserved. | 085-350-7540 | 084-88-00-255 | ntprintf@gmail.com

ติดต่อเราได้ที่

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM
แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา