สมัครเรียนโทร. 085-350-7540 , 084-88-00-255 , ntprintf@gmail.com

Web Programming

ASP.NET ต่างกับ ASP อย่างไร JavaScript - HelloWorld npm - Intro AngularJS - HelloWorld VueJS - HelloWorld webpack - Intro ASP.NET - HelloWorld Flask - HelloWorld Web Server คืออะไร API คืออะไร Maven - HelloWorld Nancy - HelloWorld Protocol คืออะไร วิธีติดตั้ง Web Server บน Ubuntu วิธีติดตั้ง PrestaShop with PHP 8 (ใช้ Amazon Lightsail) วิธีติดตั้ง XAMPP บน Ubuntu 22.04 วิธีติดตั้ง WordPress บน XAMPP บน Ubuntu 22.04 React - Simple Web App - People Counter React - Simple Web App - People Counter 2 React - Web App - Dictionary React - Web App - Multiple Pages React - Web App - Multiple Pages with APIs React - Web App - Calculator React - Web App - Smart Parking วิธีสร้าง AWS EC2 instance สร้าง Web Application โดยใช้ Django และ Deploy บน AWS EC2 React - Create and Run React Application React - Web App - SpO2 Tracker วิธีติดตั้งและใช้งาน CKEditor 5 Introduction to JSON JSON Full Form: JavaScript Object Notation History of JSON JSON vs XML Structure of JSON JSON Data Types JSON Objects Explained JSON Arrays Explained Key-Value Pairs in JSON JSON String Data Type JSON Number Data Type JSON Boolean Data Type JSON Null Data Type Nested JSON Objects JSON in APIs JSON Schema Overview How to Write JSON JSON File Extensions (.json) JSON Syntax Rules JSON Parsing in JavaScript JSON Stringify in JavaScript How to Use JSON.parse() How to Use JSON.stringify() Escaping Characters in JSON JSON Comments (and why they are not allowed) JSON in Web Development Sending JSON Data with HTTP Requests Receiving JSON Responses in APIs REST APIs and JSON JSON in AJAX Requests Working with JSON in Node.js How to Read a JSON File Saving Data in JSON Format How to Validate JSON JSONLint for Validation JSON Pretty Print JSON Minification JSON vs YAML JSON and JavaScript Compatibility JSON and Python Integration Working with JSON in Python (json module) JSON in Java (Jackson and GSON) JSON in C++ (RapidJSON and nlohmann/json) JSON in C# (Json.NET) JSON in PHP (json_encode and json_decode) How to Fetch JSON Data from APIs Fetching JSON in Python (requests module) Fetching JSON in JavaScript (fetch API) Fetching JSON in jQuery JSON Serialization JSON Deserialization JSON Data Interchange Common Errors in JSON Syntax Handling Large JSON Files Streaming JSON Data JSON Pagination Techniques JSON as a Configuration Format JSON in Cloud Storage JSON and MongoDB BSON vs JSON in MongoDB JSON Web Tokens (JWT) Security Considerations with JSON Cross-Origin Resource Sharing (CORS) and JSON JSON Schema Validation Creating a JSON Schema Required Fields in JSON Schema JSON Schema Property Types JSON Schema Examples Benefits of JSON Schema JSONPath: Querying JSON Data JSON Data Transformation Comparing Two JSON Objects Sorting JSON Data Flattening JSON Structures JSON Merge Techniques JSON in NoSQL Databases JSON in Relational Databases Storing JSON in MySQL JSON Functions in MySQL JSON Functions in PostgreSQL JSON Functions in SQL Server JSON and Elasticsearch Advantages of Using JSON Limitations of JSON JSON and GraphQL JSONP (JSON with Padding) JSON and Local Storage in Browsers JSON and Cookies JSON and Session Storage Importing and Exporting JSON Nested vs Flattened JSON Structures JSON Best Practices Debugging JSON Errors JSON Performance Optimization Real-Time Data with JSON Microservices and JSON JSON Versioning JSON in IoT Applications JSON for Data Exchange in Mobile Apps The Future of JSON Introduction to XML XML Full Form: eXtensible Markup Language History of XML XML vs HTML XML vs JSON Structure of XML XML Syntax Rules XML Elements Explained XML Attributes Explained XML Tags XML Prolog XML Declaration XML Namespaces XML Data Types XML Comments XML Empty Elements XML Well-Formed Documents XML Valid Documents XML DTD (Document Type Definition) XML Schema Definition (XSD) XML vs XSD XML vs DTD XML Namespaces Best Practices XML Parsers XML DOM (Document Object Model) SAX Parser in XML XML Parsing in Java XML Parsing in Python XML Parsing in C# XML Parsing in JavaScript XML with PHP How to Read XML Files How to Write XML Files How to Validate XML XML Formatting and Pretty Print XML Minification XML Tree Structure XML as a Data Interchange Format XML in Web Services SOAP and XML REST vs SOAP (XML in APIs) XML in AJAX XMLHTTPRequest in JavaScript XML in Mobile Applications How to Transform XML with XSLT XSLT for Formatting XML XPath Overview XPath Syntax XPath Expressions and Queries XML Query Languages XQuery Overview XLink for XML Linking XPointer for XML Fragment Identification XML for Configuration Files Storing XML in Databases XML in MySQL XML in PostgreSQL XML in SQL Server XML in Oracle Database XML Indexing XML Data Modeling XML and SOAP Faults XML Encryption XML Digital Signatures Security Best Practices for XML XML Schema Elements XML Schema Attributes XML Schema Validation XML Schema Restrictions and Extensions XML Schema Choice and Sequence Benefits of Using XML Limitations of XML XML in Big Data XML and NoSQL Databases XML for IoT Applications XML in E-commerce Systems XML for Document Storage XML for Multimedia Content XML in Content Management Systems XML and Microservices XML and Cloud Computing XML for RSS Feeds Atom and XML Feeds XML in Office Document Formats (DOCX, XLSX) XML and SVG (Scalable Vector Graphics) XML for Vector Graphics XML Compression Techniques XML with WebSockets XML in Real-Time Applications JSON vs XML Performance XML and CORS (Cross-Origin Resource Sharing) XML for API Design Common XML Parsing Errors Debugging XML Converting XML to JSON Converting JSON to XML XML Best Practices XML Versioning XML and GraphQL The Future of XML

A13_Flask01_HelloWorld

Flask คืออะไร

Flask เป็น micro Web Framework ที่เขียนด้วย Python เอาใช้สร้างเว็บ

micro หมายถึงอะไร

คำว่า “micro” ไม่ได้หมายความว่า เราจะต้องเขียน web application ให้อยู่ในไฟล์เดียว และไม่ได้หมายความว่า Flask มันเล็กจนทำงานด้วยตัวเองไม่ได้ แต่มันหมายความว่า Flask ตั้งเป้าหมายให้ตัวเองมีขนาดเล็กแต่สามารถขยายได้ ดังนั้นมันจึงไม่มี tool หรือ library เฉพาะทางแบบ Python framework ตัวอื่นที่เป็นที่นิยม เช่น Django หรือ Pyramid แต่เราสามารถเพิ่มเติมได้ในภายหลังหากต้องการใช้ครับ

ประโยชน์ของ Flask

จุดเด่นของ Flask คือการที่มันเป็น micro เนี่ยแหละครับ เพราะทำให้ตัวมันเล็กและเบา แต่สามารถทำงานพื้นฐานได้ค่อนข้างครอบคลุม หรือถ้าเราต้องการอะไรเพิ่มเติม เช่น database ก็สามารถเพิ่มส่วนขยายได้ ทำให้การเขียนโค้ดมีความยืดหยุ่นมาก และมีแต่สิ่งที่จำเป็นจริงๆ

ประวัติ Flask

Flask สร้างโดย Armin Ronacher จากโปรเจกต์ Pocoo ในปี 2004 แต่เดิมเขาทำโปรเจกต์นี้ร่วมกับ Georg Brandl มีเป้าหมายคือสร้าง bulletin board ด้วย Python ซึ่งถึงแม้โปรเจกต์ bulletin board จะล้มเลิกไป แต่สิ่งที่ได้ออกมาคือ jinja2 ซึ่งเป็น template engine สำหรับ Python และ WSGI ซึ่งเป็น web application library และจากสองสิ่งนี้ทำให้ได้ Python web application framework ยอดนิยมสุดๆอย่าง Flask ออกมาในปี 2010 และได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เวอร์ชันที่เสถียรล่าสุดคือเวอร์ชัน 1.1.1 ซึ่งออกในปี 2019 

Project Hello world

ตอนนี้เรามาเริ่มทดลองทำโปรเจกต์ Hello World อย่างง่ายสุดๆกันดีกว่าครับ ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นตัวอย่างสำหรับ Windows เท่านั้นนะครับ

1. ก่อนจะใช้งาน Flask จะติดตั้ง Python ในเครื่องก่อนนะครับ สำหรับคนที่ยังไม่มี Python ก็แนะนำให้ดาวน์โหลด Python 3 นะครับ โดยเข้าไปดาวน์โหลดได้ที่ https://www.python.org/

2. หลังจากติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว คราวนี้เราจะมาสร้าง Virtual environment และ activate environment กัน ในที่นี้จะแสดงให้ดูเฉพาะของ Python 3 นะครับ ให้เปิด Command Prompt ขึ้นมาแล้วพิมพ์คำสั่งดังต่อไปนี้ทีละคำสั่ง

cd pathของโฟลเดอร์ที่เราต้องการในตัวอย่างนี้คือโฟลเดอร์ชื่อflask_test
py -3 -m venv venv
venv\Scripts\activate

3. ทำการติดตั้ง Flask ใน environment ที่เรา activate ในขั้นตอนที่ 2 โดยพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้แล้วรอจนติดตั้งเสร็จ จะเห็นว่ามันทำการติดตั้ง Werkzeug, Jinja, MarkupSafe, ItsDangerous และ Click ให้ด้วย ขั้นตอนต่อไปเราจะเขียนโค้ดกัน แต่อย่าเพิ่งปิด Command Prompt นะครับ

pip install Flask

4. ให้ไปที่โฟลเดอร์ที่เราสร้าง environment ไว้ในขั้นตอนที่ 2 ในตัวอย่างนี้คือโฟลเดอร์ flask_test จากนั้นให้สร้างไฟล์ hello.py ขึ้นมาครับ 

5. เปิดไฟล์ hello.py ด้วยโปรแกรมทีี่สามารถแก้ไขข้อความในไฟล์ได้ เช่น Notepad หรือ Notepad++ แล้วพิมพ์โค้ดตามนี้ จากนั้นให้ save ไฟล์

อธิบายโค้ด
บรรทัดที่ 1: import class ชื่อ Flask
บรรทัดที่ 2: สร้าง instance ของ class Flask ชื่อ app
บรรทัดที่ 4: ใช้คำสั่ง route() เพื่อกำหนด URL ที่เราจะใช้เรียกฟังก์ชันในบรรทัดต่อมา
บรรทัดที่ 5 - 6: สร้างฟังก์ชันชื่อ hello_world ซึ่งจะแสดงข้อความ Hello World เมื่อถูกเรียก

6. จากนั้นกลับมาที่ Command Prompt ที่เรายังเปิดทิ้งไว้จากขั้นตอนที่ 3 แล้วพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ทีละคำสั่ง เพื่อรัน application hello ของเรา

set FLASK_APP=hello.py
flask run

รอจนขึ้นข้อความว่า * Running on http://127.0.0.1:5000/ หมายความว่า Application ของเรากำลังรันแล้วครับ ถ้าต้องการปิดให้กด Ctrl+C แต่อย่าเพิ่งกดนะครับ เราจะเข้าไปดูเว็บของเราก่อน

7. เข้าไปที่เว็บ http://127.0.0.1:5000/ จะเห็นข้อความ Hello World ปรากฏขึ้นมา

เท่านี้เราก็จะสามารถเขียน Flask เพื่อแสดงข้อความ Hello World ได้แล้ว อาจจะงงตรง Command Line หน่อย แต่ตอนเขียนโค้ดก็ง่ายมากๆเลยใช่ไหมครับ? ถ้าอยากรู้เรื่องของ Flask หรือ Tutorial เพิ่มเติมก็อ่านได้จาก [2] นะครับ 

พื้นฐานที่ควรมีก่อนเรียนรู้ Flask

การใช้งาน Flask ต้องมีความรู้เรื่อง Python และ Web Programming ครับ

ถ้าผู้อ่านยังไม่มีพื้นฐานเหล่านี้หรือมีแล้วแต่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้ง นำไปใช้ต่อยอดได้จริง ก็ขอแนะนำคอร์ส Web Programming PHP101-PY ของทาง EPT ครับ สามารถดูรายละเอียดคอร์สได้โดยคลิกที่นี่หรือติดต่อได้ที่ 085-350-7540

แล้วพบกันใหม่บทความหน้านะครับ 

 

ที่มาและเว็บไซต์อ้างอิง

[1] https://web.archive.org/web/20171119213325/http://www.pocoo.org:80/history/
[2] https://flask.palletsprojects.com/en/1.1.x/


Tag ที่น่าสนใจ: flask python web_framework micro_framework web_development programming tutorial hello_world virtual_environment jinja2 wsgi installation routing command_prompt flask_application


บทความนี้อาจจะมีที่ผิด กรุณาตรวจสอบก่อนใช้

หากมีข้อผิดพลาด/ต้องการพูดคุยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความนี้ กรุณาแจ้งที่ http://m.me/Expert.Programming.Tutor

ไม่อยากอ่าน Tutorial อยากมาเรียนเลยทำอย่างไร?

สมัครเรียน ONLINE ได้ทันทีที่ https://elearn.expert-programming-tutor.com

หรือติดต่อ

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM

แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา

แผนผังการเรียนเขียนโปรแกรม

Link อื่นๆ

Allow sites to save and read cookie data.
Cookies are small pieces of data created by sites you visit. They make your online experience easier by saving browsing information. We use cookies to improve your experience on our website. By browsing this website, you agree to our use of cookies.

Copyright (c) 2013 expert-programming-tutor.com. All rights reserved. | 085-350-7540 | 084-88-00-255 | ntprintf@gmail.com

ติดต่อเราได้ที่

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM
แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา