สมัครเรียนโทร. 085-350-7540 , 084-88-00-255 , ntprintf@gmail.com

Linux

Linux คืออะไร Linux - CommandLine พื้นฐาน Command Line ใน Linux - การเปิด Terminal ใน Linux พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง pwd เพื่อแสดงไดเรกทอรีปัจจุบัน พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง cd เพื่อเปลี่ยนไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง ls เพื่อแสดงรายการไฟล์และไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง mkdir เพื่อสร้างไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง rmdir เพื่อลบไดเรกทอรีที่ว่างเปล่า พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง touch เพื่อสร้างไฟล์เปล่า พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง cp เพื่อคัดลอกไฟล์หรือไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง mv เพื่อย้ายหรือเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง rm เพื่อลบไฟล์หรือไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง cat เพื่อแสดงเนื้อหาไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง more และ less เพื่อดูไฟล์ทีละหน้า Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง head เพื่อแสดงบรรทัดแรกของไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง tail เพื่อแสดงบรรทัดสุดท้ายของไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง nano เพื่อแก้ไขไฟล์ในเทอร์มินัล Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง vim เพื่อแก้ไขไฟล์ใน Text Editor Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง find เพื่อค้นหาไฟล์ในระบบ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง locate เพื่อค้นหาไฟล์อย่างรวดเร็ว Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง grep เพื่อค้นหาข้อความในไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง diff เพื่อเปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง chmod เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ของไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง chown เพื่อเปลี่ยนเจ้าของไฟล์หรือไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง chgrp เพื่อเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์หรือไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - การใช้งานสิทธิ์ไฟล์แบบ r, w, x Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - การใช้สิทธิ์แบบเลขฐานแปด (chmod 755) Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง umask เพื่อกำหนดค่าเริ่มต้นของสิทธิ์ไฟล์ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง ps เพื่อแสดงรายการกระบวนการที่กำลังทำงาน Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง top เพื่อแสดงกระบวนการและทรัพยากรที่ใช้งานอยู่ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง htop เพื่อจัดการกระบวนการแบบกราฟิกในเทอร์มินัล Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง kill เพื่อยุติกระบวนการ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง killall เพื่อยุติกระบวนการทั้งหมดที่มีชื่อเดียวกัน Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง nice เพื่อกำหนดความสำคัญของกระบวนการ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง renice เพื่อเปลี่ยนความสำคัญของกระบวนการ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง bg เพื่อรันโปรแกรมในพื้นหลัง Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง fg เพื่อรันโปรแกรมในพื้นหน้า Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง jobs เพื่อแสดงรายการงานที่กำลังทำงานในพื้นหลัง Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง df เพื่อดูพื้นที่ดิสก์ที่ใช้งาน Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง du เพื่อดูขนาดของไฟล์และไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง free เพื่อดูข้อมูลการใช้หน่วยความจำ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง uptime เพื่อดูเวลาที่ระบบทำงานและภาระโหลด Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง uname เพื่อแสดงข้อมูลระบบปฏิบัติการ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง hostname เพื่อแสดงหรือเปลี่ยนชื่อโฮสต์ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง who เพื่อดูผู้ใช้ที่กำลังเข้าสู่ระบบ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง w เพื่อดูข้อมูลผู้ใช้และสิ่งที่พวกเขากำลังทำ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง last เพื่อดูประวัติการเข้าสู่ระบบของผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง shutdown เพื่อปิดเครื่องหรือรีสตาร์ท Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ifconfig เพื่อดูหรือกำหนดค่าเครือข่าย Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ip เพื่อดูข้อมูลเครือข่ายแบบละเอียด Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ping เพื่อตรวจสอบการเชื่อมต่อเครือข่าย Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง traceroute เพื่อตรวจสอบเส้นทางการเชื่อมต่อ Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง nslookup เพื่อตรวจสอบ DNS Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง dig เพื่อดูรายละเอียด DNS Records Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง netstat เพื่อดูการเชื่อมต่อเครือข่ายและพอร์ตที่ใช้งาน Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ss เพื่อดูการเชื่อมต่อแบบรวดเร็ว Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง scp เพื่อคัดลอกไฟล์ระหว่างเครื่องผ่าน SSH Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ssh เพื่อเชื่อมต่อไปยังเครื่องระยะไกล Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง apt-get เพื่อจัดการแพ็กเกจในระบบ Debian/Ubuntu Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง yum เพื่อจัดการแพ็กเกจในระบบ CentOS/RHEL Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง dnf เพื่อจัดการแพ็กเกจใน Fedora Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง pacman เพื่อจัดการแพ็กเกจใน Arch Linux Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง zypper เพื่อจัดการแพ็กเกจใน openSUSE Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง dpkg เพื่อจัดการแพ็กเกจใน Debian/Ubuntu Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง rpm เพื่อจัดการแพ็กเกจใน RHEL/CentOS Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง snap เพื่อจัดการแพ็กเกจแบบ Snap บน Ubuntu Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง flatpak เพื่อจัดการแพ็กเกจแบบ Flatpak Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง apt-cache เพื่อค้นหาข้อมูลแพ็กเกจใน Debian/Ubuntu Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง tar เพื่อบีบอัดและแตกไฟล์ Archive Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง gzip เพื่อบีบอัดไฟล์ Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง gunzip เพื่อแตกไฟล์ gzip Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง zip เพื่อบีบอัดไฟล์เป็น Zip Archive Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง unzip เพื่อแตกไฟล์ Zip Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง bzip2 เพื่อบีบอัดไฟล์แบบ bzip2 Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง bunzip2 เพื่อแตกไฟล์ bzip2 Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง xz เพื่อบีบอัดไฟล์แบบ xz Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง unxz เพื่อแตกไฟล์ xz Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง 7z เพื่อบีบอัดและแตกไฟล์ด้วย 7-Zip Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง useradd เพื่อเพิ่มผู้ใช้ใหม่ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง usermod เพื่อแก้ไขข้อมูลผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง userdel เพื่อลบผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง passwd เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านของผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง groupadd เพื่อสร้างกลุ่มใหม่ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง groupdel เพื่อลบกลุ่ม Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง gpasswd เพื่อจัดการกลุ่ม Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง id เพื่อแสดงข้อมูลผู้ใช้และกลุ่มที่เกี่ยวข้อง Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง su เพื่อเปลี่ยนผู้ใช้เป็นผู้ใช้คนอื่น Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง sudo เพื่อรันคำสั่งในฐานะผู้ใช้ root Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การเขียน Bash Script พื้นฐาน Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้ตัวแปรใน Bash Script Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้เงื่อนไขใน Bash Script (if, else) Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้ลูปใน Bash Script (for, while) Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้ฟังก์ชันใน Bash Script Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้พารามิเตอร์ในสคริปต์ Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การเปลี่ยนสิทธิ์ของสคริปต์ให้สามารถรันได้ (chmod +x) Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้สคริปต์ในการจัดการงานอัตโนมัติ Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การส่งออกผลลัพธ์จากสคริปต์ไปยังไฟล์ Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การรันคำสั่ง Bash Script ผ่าน cron Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การใช้ cron เพื่อตั้งเวลางาน Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การสร้าง crontab เพื่อกำหนดเวลารันคำสั่ง Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การตรวจสอบ crontab ที่มีอยู่ Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การใช้ at เพื่อรันคำสั่งครั้งเดียวในอนาคต

A20_Linux_CommandLine

ในบทความที่แล้วเราได้รู้จัก Linux กันไปแล้ว และก่อนหน้านี้เราก็เคยได้ลองใช้ Windows Command Line กันไปแล้วในบทความ A14_Windows_CommandLine คราวนี้เราจะมาลองใช้ Linux Command Line กันบ้างครับ 

Terminal คืออะไร

Terminal ก็เปรียบเหมือน Command Prompt ใน Windows คือ Application ที่ใช้สำหรับแปล Command line ที่เราใส่เข้าไปให้ทำงาน ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างวิธีเปิด Terminal ใน Ubuntu วิธีหนึ่งซึ่งผมคิดว่าง่ายดีเพราะไม่ต้องจำอะไรมาก นั่นคือค้นหาจาก Ubuntu Dash ครับ โดยดูได้จากภาพประกอบด้านล่างนี้ได้เลย นอกจากนี้ยังมีวิธีเปิดแบบอื่นอีกหลายวิธีผู้อ่านสามารถค้นหาได้จากอินเตอร์เน็ตครับ

Linux Command Line

หลังจากรู้จักกับ Terminal กันแล้วก็เปิดมันขึ้นมาแล้วลองใช้งานกันดีกว่าครับ ต่อไปนี้จะเป็นการทดลองใช้ Command Line บางคำสั่งที่เราอาจจะมีโอกาสได้เจอครับ โดยในตัวอย่างแต่ละตัวอย่างอาจจะมีความเกี่ยวเนื่องกันอยู่ก็ขอให้ผู้อ่านลองทดลองไปตามลำดับนะครับ ถ้าไม่ทำตามลำดับก็โปรดระวังในการใช้งานด้วย ทั้งนี้ทางผู้เขียนและ EPT ไม่ขอรับผิดชอบต่อความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทำตามตัวอย่างทั้งหมดในหน้านี้นะครับ 

 

***ขอเน้นย้ำว่า การใช้งาน Command Line ถ้าพิมพ์คำสั่งผิดแม้แต่ตัวเดียว จะส่งผลให้ไม่สามารถทำตามคำสั่งนั้นได้ หรืออาจจะทำคำสั่งผิดไปจากที่เราต้องการเลย ถ้าโชคร้ายสุดๆอาจทำให้คอมพิวเตอร์มีปัญหา หรือทำให้โปรเจกต์พันล้านของท่านผู้อ่านหายไปในพริบตาได้เลยครับ จึงต้องระวังให้มากๆๆๆๆนะครับ***

 

1. ให้สร้างโฟลเดอร์ที่เราต้องการจะใช้ทดสอบ Command Line ขึ้นมาก่อนครับ เพื่อจะได้ไม่ต้องไปยุ่งกับไฟล์อื่นในเครื่องเรา โดยการคลิกขวาแล้วเลือก New Folder ในตัวอย่างนี้จะสร้างโฟลเดอร์ชื่อ cmd_test ไว้ที่ Desktop หลังจากสร้างโฟลเดอร์เสร็จแล้วให้ไปที่ Terminal แล้วลองพิมพ์ Command Line กันดูเลยครับ

2. คำสั่ง cd ใช้เปลี่ยน directory ทดลองพิมพ์ cd แล้วตามด้วย path ของโฟลเดอร์ที่เราสร้างในขั้นตอนที่ 1 

cd Desktop/cmd_test

3. สร้างโฟลเดอร์ใหม่ด้วยคำสั่ง mkdir ตามด้วยชื่อโฟลเดอร์ที่ต้องการ

mkdir folder_new1

4. สร้างไฟล์ text ใหม่ด้วยคำสั่ง cat ในตัวอย่างนี้จะสร้างไฟล์ชื่อ myFile.txt

cat > myFile.txt

5. ใช้คำสั่ง gedit เพื่อเปิดไฟล์ด้วยโปรแกรม gedit เพื่อแก้ไขเนื้อหาในไฟล์ หลังจากเปิดมาแล้วให้พิมพ์คำว่า Hello World แล้ว save

gedit myFile.txt

6. Copy ไฟล์ด้วยคำสั่ง cp ถ้าลองเปิดไฟล์ myFileCopy1.txt ขึ้นมาจะพบว่ามีข้อความ Hello World เหมือนต้นฉบับทุกประการครับ

cp myFile.txt myFileCopy1.txt

7. เปลี่ยนชื่อไฟล์ด้วยคำสั่ง mv
หมายเหตุ: คำสั่ง mv สามารถใช้งานได้สองอย่างคือ ย้ายไฟล์ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์

mv myFile.txt myFile_rename.txt

8. ลบไฟล์ด้วยคำสั่ง rm

rm myFile_rename.txt

9. ดู IP address ด้วยคำสั่ง ifconfig

ifconfig

10. ติดตั้งโปรแกรมด้วยคำสั่ง sudo apt-get install แล้วตามด้วยชื่อโปรแกรมที่จะลง ในที่นี้จะลงโปรแกรม zip unzip หลังจากพิมพ์คำสั่งนี้แล้วระบบจะถามหา password ก็ให้พิมพ์ password ของคอมพิวเตอร์ของเราลงไป แล้วรอจนติดตั้งเสร็จ

sudo apt-get install zip unzip

11. หลังจากติดตั้งเสร็จแล้วให้ลอง zip ไฟล์ด้วยคำสั่ง zip ตามด้วยชื่อไฟล์ output และตามด้วยชื่อไฟล์ที่จะ zip

zip test.zip myFileCopy1.txt

12. ทดลองแตกไฟล์ test.zip ด้วยคำสั่ง unzip แล้วตามด้วยชื่อไฟล์ที่จะแตก และเนื่องจากในโฟลเดอร์ของตัวอย่างนี้มีไฟล์ชื่อ myFileCopy1.txt อยู่แล้ว ระบบจึงถามว่าต้องการ replace ไฟล์เดิมไหม ในตัวอย่างนี้เราเลือกตอบ r คือเราจะเปลี่ยนชื่อไฟล์ที่แตกออกมาเพื่อไม่ให้ทับไฟล์เดิมโดยเปลี่ยนชื่อเป็น myFileFromZip.txt

unzip test.zip

13. ดูลิสต์ของข้อมูลไฟล์ในโฟลเดอร์ด้วยคำสั่ง ls และดูลิสต์ของไฟล์และโฟลเดอร์ด้วยคำสั่ง dir จะเห็นว่าสองคำสั่งนี้ทำงานคล้ายกันมาก โดยคำสั่ง dir จะเทียบเท่ากับคำสั่ง ls -C -b
ข้อสังเกต: จะเห็นว่าลิสต์ของไฟล์ที่ได้ออกมามี myFile.txt~ ที่เราลบไปแล้วด้วย ตรงนี้คือมันเป็น backup file ของที่ยังคงอยู่ในระบบครับ ไม่ต้องสนใจ

ls
dir

14. ดูตัวช่วยเหลือสำหรับ built-in command ด้วยคำสั่ง help

help

 

เป็นอย่างไรบ้างครับกับการลองเล่น Command Line ต่างๆ สำหรับ Command Line ทั้งหมดที่ Linux มีสามารถดูได้ที่ [1] ครับ

แล้วพบกันใหม่บทความหน้าครับ

 

ที่มาและเว็บไซต์อ้างอิง

[1] https://ss64.com/bash/


Tag ที่น่าสนใจ: linux_command_line terminal cd_command mkdir_command cat_command gedit_command cp_command mv_command rm_command ifconfig_command sudo_apt-get_install_command zip_command unzip_command


บทความนี้อาจจะมีที่ผิด กรุณาตรวจสอบก่อนใช้

หากมีข้อผิดพลาด/ต้องการพูดคุยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความนี้ กรุณาแจ้งที่ http://m.me/Expert.Programming.Tutor

ไม่อยากอ่าน Tutorial อยากมาเรียนเลยทำอย่างไร?

สมัครเรียน ONLINE ได้ทันทีที่ https://elearn.expert-programming-tutor.com

หรือติดต่อ

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM

แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา

แผนผังการเรียนเขียนโปรแกรม

Link อื่นๆ

Allow sites to save and read cookie data.
Cookies are small pieces of data created by sites you visit. They make your online experience easier by saving browsing information. We use cookies to improve your experience on our website. By browsing this website, you agree to our use of cookies.

Copyright (c) 2013 expert-programming-tutor.com. All rights reserved. | 085-350-7540 | 084-88-00-255 | ntprintf@gmail.com

ติดต่อเราได้ที่

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM
แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา