สมัครเรียนโทร. 085-350-7540 , 084-88-00-255 , ntprintf@gmail.com

Linux

Linux คืออะไร Linux - CommandLine พื้นฐาน Command Line ใน Linux - การเปิด Terminal ใน Linux พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง pwd เพื่อแสดงไดเรกทอรีปัจจุบัน พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง cd เพื่อเปลี่ยนไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง ls เพื่อแสดงรายการไฟล์และไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง mkdir เพื่อสร้างไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง rmdir เพื่อลบไดเรกทอรีที่ว่างเปล่า พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง touch เพื่อสร้างไฟล์เปล่า พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง cp เพื่อคัดลอกไฟล์หรือไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง mv เพื่อย้ายหรือเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือไดเรกทอรี พื้นฐาน Command Line ใน Linux - คำสั่ง rm เพื่อลบไฟล์หรือไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง cat เพื่อแสดงเนื้อหาไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง more และ less เพื่อดูไฟล์ทีละหน้า Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง head เพื่อแสดงบรรทัดแรกของไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง tail เพื่อแสดงบรรทัดสุดท้ายของไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง nano เพื่อแก้ไขไฟล์ในเทอร์มินัล Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง vim เพื่อแก้ไขไฟล์ใน Text Editor Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง find เพื่อค้นหาไฟล์ในระบบ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง locate เพื่อค้นหาไฟล์อย่างรวดเร็ว Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง grep เพื่อค้นหาข้อความในไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง diff เพื่อเปรียบเทียบไฟล์สองไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง chmod เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ของไฟล์ Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง chown เพื่อเปลี่ยนเจ้าของไฟล์หรือไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง chgrp เพื่อเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์หรือไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - การใช้งานสิทธิ์ไฟล์แบบ r, w, x Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - การใช้สิทธิ์แบบเลขฐานแปด (chmod 755) Command Line ใน Linux การทำงานกับไฟล์ - คำสั่ง umask เพื่อกำหนดค่าเริ่มต้นของสิทธิ์ไฟล์ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง ps เพื่อแสดงรายการกระบวนการที่กำลังทำงาน Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง top เพื่อแสดงกระบวนการและทรัพยากรที่ใช้งานอยู่ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง htop เพื่อจัดการกระบวนการแบบกราฟิกในเทอร์มินัล Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง kill เพื่อยุติกระบวนการ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง killall เพื่อยุติกระบวนการทั้งหมดที่มีชื่อเดียวกัน Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง nice เพื่อกำหนดความสำคัญของกระบวนการ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง renice เพื่อเปลี่ยนความสำคัญของกระบวนการ Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง bg เพื่อรันโปรแกรมในพื้นหลัง Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง fg เพื่อรันโปรแกรมในพื้นหน้า Command Line ใน Linux การจัดการกระบวนการ - คำสั่ง jobs เพื่อแสดงรายการงานที่กำลังทำงานในพื้นหลัง Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง df เพื่อดูพื้นที่ดิสก์ที่ใช้งาน Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง du เพื่อดูขนาดของไฟล์และไดเรกทอรี Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง free เพื่อดูข้อมูลการใช้หน่วยความจำ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง uptime เพื่อดูเวลาที่ระบบทำงานและภาระโหลด Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง uname เพื่อแสดงข้อมูลระบบปฏิบัติการ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง hostname เพื่อแสดงหรือเปลี่ยนชื่อโฮสต์ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง who เพื่อดูผู้ใช้ที่กำลังเข้าสู่ระบบ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง w เพื่อดูข้อมูลผู้ใช้และสิ่งที่พวกเขากำลังทำ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง last เพื่อดูประวัติการเข้าสู่ระบบของผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการระบบ - คำสั่ง shutdown เพื่อปิดเครื่องหรือรีสตาร์ท Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ifconfig เพื่อดูหรือกำหนดค่าเครือข่าย Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ip เพื่อดูข้อมูลเครือข่ายแบบละเอียด Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ping เพื่อตรวจสอบการเชื่อมต่อเครือข่าย Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง traceroute เพื่อตรวจสอบเส้นทางการเชื่อมต่อ Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง nslookup เพื่อตรวจสอบ DNS Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง dig เพื่อดูรายละเอียด DNS Records Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง netstat เพื่อดูการเชื่อมต่อเครือข่ายและพอร์ตที่ใช้งาน Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ss เพื่อดูการเชื่อมต่อแบบรวดเร็ว Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง scp เพื่อคัดลอกไฟล์ระหว่างเครื่องผ่าน SSH Command Line ใน Linux การจัดการเครือข่าย - คำสั่ง ssh เพื่อเชื่อมต่อไปยังเครื่องระยะไกล Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง apt-get เพื่อจัดการแพ็กเกจในระบบ Debian/Ubuntu Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง yum เพื่อจัดการแพ็กเกจในระบบ CentOS/RHEL Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง dnf เพื่อจัดการแพ็กเกจใน Fedora Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง pacman เพื่อจัดการแพ็กเกจใน Arch Linux Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง zypper เพื่อจัดการแพ็กเกจใน openSUSE Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง dpkg เพื่อจัดการแพ็กเกจใน Debian/Ubuntu Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง rpm เพื่อจัดการแพ็กเกจใน RHEL/CentOS Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง snap เพื่อจัดการแพ็กเกจแบบ Snap บน Ubuntu Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง flatpak เพื่อจัดการแพ็กเกจแบบ Flatpak Command Line ใน Linux การติดตั้งและจัดการแพ็กเกจ - คำสั่ง apt-cache เพื่อค้นหาข้อมูลแพ็กเกจใน Debian/Ubuntu Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง tar เพื่อบีบอัดและแตกไฟล์ Archive Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง gzip เพื่อบีบอัดไฟล์ Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง gunzip เพื่อแตกไฟล์ gzip Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง zip เพื่อบีบอัดไฟล์เป็น Zip Archive Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง unzip เพื่อแตกไฟล์ Zip Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง bzip2 เพื่อบีบอัดไฟล์แบบ bzip2 Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง bunzip2 เพื่อแตกไฟล์ bzip2 Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง xz เพื่อบีบอัดไฟล์แบบ xz Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง unxz เพื่อแตกไฟล์ xz Command Line ใน Linux การจัดการไฟล์บีบอัดและแตกไฟล์ - คำสั่ง 7z เพื่อบีบอัดและแตกไฟล์ด้วย 7-Zip Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง useradd เพื่อเพิ่มผู้ใช้ใหม่ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง usermod เพื่อแก้ไขข้อมูลผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง userdel เพื่อลบผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง passwd เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านของผู้ใช้ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง groupadd เพื่อสร้างกลุ่มใหม่ Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง groupdel เพื่อลบกลุ่ม Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง gpasswd เพื่อจัดการกลุ่ม Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง id เพื่อแสดงข้อมูลผู้ใช้และกลุ่มที่เกี่ยวข้อง Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง su เพื่อเปลี่ยนผู้ใช้เป็นผู้ใช้คนอื่น Command Line ใน Linux การจัดการผู้ใช้และสิทธิ์ - คำสั่ง sudo เพื่อรันคำสั่งในฐานะผู้ใช้ root Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การเขียน Bash Script พื้นฐาน Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้ตัวแปรใน Bash Script Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้เงื่อนไขใน Bash Script (if, else) Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้ลูปใน Bash Script (for, while) Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้ฟังก์ชันใน Bash Script Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้พารามิเตอร์ในสคริปต์ Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การเปลี่ยนสิทธิ์ของสคริปต์ให้สามารถรันได้ (chmod +x) Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การใช้สคริปต์ในการจัดการงานอัตโนมัติ Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การส่งออกผลลัพธ์จากสคริปต์ไปยังไฟล์ Command Line ใน Linux การใช้งานและสร้างสคริปต์ Shell - การรันคำสั่ง Bash Script ผ่าน cron Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การใช้ cron เพื่อตั้งเวลางาน Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การสร้าง crontab เพื่อกำหนดเวลารันคำสั่ง Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การตรวจสอบ crontab ที่มีอยู่ Command Line ใน Linux การตั้งเวลางาน - การใช้ at เพื่อรันคำสั่งครั้งเดียวในอนาคต

A19_WhatIs03_Linux

หลังจากที่เราเคยพูดถึง Web Server กันไปแล้ว ในบทความนี้เราจะพาท่านผู้อ่านไปรู้จักกับ Linux ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการยอดนิยมที่สุดที่ใช้ในเครื่อง Server ครับ

Linux คืออะไร

Linux เป็นระบบปฏิบัติการ (OS) ตัวหนึ่งคล้ายๆ Windows ที่ทุกคนรู้จักกันดีอยู่แล้ว แต่ถึงแม้คนทั่วไปอาจจะไม่รู้จัก Linux แต่มันก็เป็นระบบปฏิบัติการที่นับได้ว่าเป็นที่นิยมมากที่สุดในโลกนี้เลยครับ เพราะมันอยู่แทบทุกที่โดยที่เราอาจจะไม่รู้ตัว ทั้งใน Smartphone (Android) ใน tablet ในรถยนต์ ในเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ ไปจนถึงใน supercomputer หรือในคอมพิวเตอร์ควบคุมจรวดที่ยิงไปนอกโลก

Linux ถูกสร้างขึ้นมาเมื่อปี 1991 โดย Linus Torvalds ขณะกำลังศึกษาอยู่ใน University of Helsinki โดยเขาตั้งใจให้เป็น open source ที่ใช้งานได้ฟรีแทนที่ Minix ซึ่งเป็น Unix clone ตัวหนึ่ง ในตอนแรกเขาตั้งใจจะให้มันชื่อว่า “Freax” แต่ผู้จัดการ server ที่เขาใช้แจกโค้ดตั้งชื่อโฟลเดอร์ว่า “Linux” โดยมาจากชื่อ Linus ซึ่งเป็นชื่อต้นของเขากับคำว่า Unix นับแต่นั้นมามันจึงได้ชื่อว่า “Linux”

ส่วนประกอบของ Linux

  1. Bootloader เป็น software ที่จัดการเวลาคอมพิวเตอร์ boot ซึ่งคือหน้าจอแวบๆที่เราเห็นตอนเปิดเครื่องและหายไปนั่นแหละครับ
     
  2. Kernel เป็นแกนของระบบที่ทำหน้าที่จัดการกับ CPU, Memory และอุปกรณ์ต่างๆ ถึงแม้ Kernel จะอยู่ level ล่างสุดของระบบปฏิบัติการ แต่เราก็อาจพูดได้ว่าสิ่งที่รวมเป็น Linux ก็คือเจ้า Kernel บางคนเมื่อพูดถึง Linux เขาก็จะหมายถึง Kernel นี่แหละครับ 
     
  3. Init system เป็นระบบย่อยที่จะ boot พื้นที่ใช้งานและควบคุม daemons โดยมันจะเป็นตัวจัดการเรื่อง boot เครื่องต่อจาก Bootloader 
     
  4. Daemons เป็น service ที่อยู่เบื้องหลัง เช่น printing, sound, scheduling ฯลฯ ที่จะเริ่มทำงานขณะที่คอมพิวเตอร์ boot หรือหลังจากที่เรา login เข้าหน้า desktop
     
  5. Graphical server เป็นระบบย่อยที่ทำหน้าที่แสดงผลกราฟิกออกทางหน้าจอของเรา มันถูกเรียกว่า X server หรือ X
     
  6. Desktop environment เป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้งานโดยตรง มีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น GNOME, Cinnamon, Mate, Pantheon, Enlightenment, KDE, Xfce ฯลฯ โดย desktop environment แต่ละอันจะมี built-in applications เช่น file managers, configuration tools, web browsers และ games ติดมาด้วย
     
  7. Applications ถึงแม้ Desktop environments จะมี Application พื้นฐานมาให้แต่เราก็อาจจะต้องการใช้อะไรที่มากกว่านั้น ซึ่ง Linux ก็มี software มากมายที่เราสามารถโหลดมาติดตั้งในเครื่องได้ บาง Linux distribution ก็มี App Store ที่ช่วยให้เราสามารถค้นหาและติดตั้ง Application ที่ต้องการได้ง่ายๆอีกด้วย เช่น Ubuntu Software Center ของ Ubuntu เป็นต้น

ทำไมต้อง Linux

Linux เป็น Open-source OS ซึ่งเราสามารถใช้งานได้ฟรี เราสามารถแก้ไขมันได้ หรือเอามันมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ของเราเองก็ยังได้ครับ และการที่ Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมสุดๆนั้น เพราะว่ามันพิสูจน์ตัวเองแล้วว่ามันเสถียรและมีความปลอดภัยเป็นอย่างมาก ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องคอมค้าง หรือไวรัส 

นอกจากนี้ Linux ยังมี distribution มากมายให้เราได้เลือกใช้ตามความสามารถของเรา เช่น LINUX MINT, MANJARO, DEBIAN, UBUNTU, ANTERGOS, SOLUS, FEDORA, ELEMENTARY OS, OPENSUSE เป็นต้น ถ้าเรายังเพิ่งรู้จัก Linux ก็ขอแนะนำให้เลือกใช้ Linux Mint, Ubuntu, Elementary OS หรือ Deepin ครับ เนื่องจากใช้งานได้ง่ายสุด แต่ถ้าท่านผู้อ่าน Advance แล้วล่ะก็จะเลือกใช้อะไรก็เชิญตามสะดวกเลยครับ

ประโยชน์ของ Linux ในแง่ธุรกิจ

ประโยชน์ในแง่ธุรกิจที่สำคัญที่สุดคือมันฟรีครับ ย้ำอีกครั้งว่าฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น สมมติเราต้องการตั้ง Server แล้วเลือกใช้ Windows ราคาของ Windows Server 2019 แบบถูกที่สุดคือ Essentials edition ก็อยู่ที่ $501 แล้วครับ และถ้าใช้ Standard edition ก็อยู่ที่ $972 โดยยังไม่รวมค่าใช้จ่ายของ Software อื่นๆกว่าจะได้ server ที่สมบูรณ์อีก แต่ถ้าเราเลือกใช้ Linux เช่น Ubuntu Server หรือ Centos ทุกอย่างก็ฟรีครับ 

 

สุดท้ายนี้ถ้าผู้อ่านอยากเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับ Web Programming อย่างลึกซึ้งก็ขอแนะนำคอร์ส Web Programming ของทาง EPT ครับ สามารถดูรายละเอียดคอร์สได้โดยคลิกที่นี่หรือติดต่อได้ที่ 085-350-7540

ในบทความต่อไปเราจะมาลองเขียน Linux Command Line ดูกัน แล้วพบกันใหม่บทความหน้าครับ

 

ที่มาและเว็บไซต์อ้างอิง

[1] https://www.linux.com/what-is-linux/
[2] https://opensource.com/resources/linux

 


Tag ที่น่าสนใจ: linux operating_system kernel open_source server desktop_environment applications programming web_server unix command_line distribution business_benefits free


บทความนี้อาจจะมีที่ผิด กรุณาตรวจสอบก่อนใช้

หากมีข้อผิดพลาด/ต้องการพูดคุยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความนี้ กรุณาแจ้งที่ http://m.me/Expert.Programming.Tutor

ไม่อยากอ่าน Tutorial อยากมาเรียนเลยทำอย่างไร?

สมัครเรียน ONLINE ได้ทันทีที่ https://elearn.expert-programming-tutor.com

หรือติดต่อ

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM

แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา

แผนผังการเรียนเขียนโปรแกรม

Link อื่นๆ

Allow sites to save and read cookie data.
Cookies are small pieces of data created by sites you visit. They make your online experience easier by saving browsing information. We use cookies to improve your experience on our website. By browsing this website, you agree to our use of cookies.

Copyright (c) 2013 expert-programming-tutor.com. All rights reserved. | 085-350-7540 | 084-88-00-255 | ntprintf@gmail.com

ติดต่อเราได้ที่

085-350-7540 (DTAC)
084-88-00-255 (AIS)
026-111-618
หรือทาง EMAIL: NTPRINTF@GMAIL.COM
แผนที่ ที่ตั้งของอาคารของเรา